เว็บสล็อตออนไลน์ จัดกิจกรรม”คืนปูม้าสู่ทะเลไทย”เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติชายฝั่งทะเลอันดามัน

เว็บสล็อตออนไลน์ จัดกิจกรรม”คืนปูม้าสู่ทะเลไทย”เพื่อความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติชายฝั่งทะเลอันดามัน

เวลา 10.30 น. วันที่ 18 มีนาคม 2561 ที่ป่าชายเลน เว็บสล็อตออนไลน์ บ้านท่าฉัตรไชย อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต นายนรภัทร ปลอดทอง ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตพร้อมด้วย นายกองโท อดุลย์ ชูทอง นายอำเภอถลาง, นายโกวิทย์ เก้าเอี้ยน  ประมงจังหวัดภูเก็ต , นายทวี หอมหวล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดภูเก็ต , นางศิรวี วาเล๊าะ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดภูเก็ต, นายพิชิฏฏ์ ชิด ไพฑูรย์ ท้องถิ่น จังหวัดภูเก็ต, นางบุษยา ใจเปี่ยม ประชาสัมพันธ์จังหวัดภูเก็ต, นายเก้า แซ่ลิ้ม ประธานกลุ่มประมงพื้นบ้านบ้านท่าฉัตรไช ประชาชน,สื่อมวลชน ,เครือข่ายประมงพื้นบ้านและพี่น้องประชาชน ร่วมปล่อยปูม้าภายใต้กิจกรรม “คืนปูม้าสู่ทะเลไทย” เพื่อเพิ่มปริมาณปูม้าและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติชายฝั่งทะเลอันดามัน โดยมีสำนักงานประมงจังหวัดภูเก็ตเป็นเจ้าภาพบูรณาการร่วมกับหน่วยงานต่างๆ กลุ่มประมงพื้นบ้านและแปรรูปสัตว์น้ำบ้านท่าฉัตรไชยและกลุ่มประมงพื้นบ้านแหลมทรายซึ่งเป็นกลุ่มที่จัดทำธนาคารปูม้าในพื้นที่จังหวัดภูเก็ต

นายนรภัทร ปลอดทอง ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต กล่าวว่าคณะรัฐมนตรีมีมติวันที่ 6 มีนาคม 2561 

เห็นชอบการขยายผลธนาคารปูม้า เพื่อ”คืนปูม้าสู่ทะเลไทย”  ไปสู่ชุมชนอื่นๆอย่างรวดเร็วในชุมชนชายฝั่งทะเลจำนวน 500 ชุมชนในระยะเวลา 2 ปี ตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีด้านลดความเหลื่อมล้ำและการอยู่กับธรรมชาติอย่างเท่าเทียมสำหรับ กิจกรรมคืนปูม้าสู่ทะเลไทยในครั้งนี้นับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งที่จะช่วยเพิ่มปริมาณปูม้าซึ่งเป็นทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจเป็นที่นิยมในการบริโภคและเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญของประเทศ

ทั้งนี้การทำธนาคารปูม้าของจังหวัดภูเก็ต เกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุ่มประมงพื้นบ้านบ้านท่าฉัตรไชยและบ้านแหลมทรายเพื่อแก้ปัญหาปริมาณปูม้าที่ลดลงในทะเลอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรปูม้าและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชายฝั่งทะเลอันดามันโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีการบริหารจัดการตามกลไกประชารัฐเพื่อให้อาชีพประมงเป็นอาชีพที่มีความมั่นคงมีรายได้และชุมชนมีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืนสำหรับจำนวนพันธุ์ปูม้าที่ปล่อยคืนสู่ทะเลอันดามันในครั้งนี้มีจำนวน 6,010,000 ตัว จากแม่ปูม้าจำนวน 12 แม่ คิดเป็นมูลค่ารายได้ที่จะเกิดขึ้นแก่ชาวประมงพื้นบ้านในอนาคตกว่า 7.21 ล้านบาท

ซึ่งธนาคารปูม้าเป็นกิจกรรมที่อนุรักษ์ทรัพยากรปูม้าโดยชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการถือเป็นภูมิปัญญาพื้นบ้านของกลุ่มชาวประมงที่นำแม่ปูที่มีไข่นอกกระดองมาขังไว้ในถังที่มีออกซิเจนหรือปล่อยไว้ในคอกเพื่อให้แม่ปูม้ามีโอกาสปล่อยไข่กลับคืนสู่ธรรมชาติก่อนจะทำแม่ปูม้าไปจำหน่าย หรือใช้ประโยชน์และนำลูกปูม้าวัยอ่อนคืนสู่ทะเลเติบโตเป็นปูม้าขนาดใหญ่ต่อไปสำหรับการรวมกลุ่มของชาวประมงทำธนาคารปูม้าจึงเป็นการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำเป็นการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำชายฝั่งให้มีความอุดมสมบูรณ์เพิ่มขึ้นชาวประมงมีรายได้เพิ่มขึ้นมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเศรษฐกิจฐานรากของประเทศมีความเข้มแข็งได้อย่างยั่งยืน

จังหวัดภูเก็ต เตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งปี 2561

วันนี้ (4 เม.ย. 61) ที่ห้องประชุมคอซิมบี้ ศาลากลางจังหวัดภูเก็ต นายนรภัทร ปลอดทอง ผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต เป็นประธานการประชุมการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งปี 2561 โดยมี นายประพันธ์ ขันธ์พระแสง หัวหน้าสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดภูเก็ต, หัวหน้าส่วนราชการ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุม

นายนรภัทร  กล่าวว่า  ตามที่กรมอุตุนิยมวิทยาได้คาดการณ์ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทยในปี 61 ช่วงฤดูร้อนจะเริ่มต้นในเดือนกุมภาพันธ์ 2561 และสิ้นสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม 2561 ซึ่งกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ได้สั่งการให้จังหวัด โดย กองอำนวยการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้งจังหวัดติดตามสถานการณ์น้ำของจังหวัดพร้อมทั้งจัดประชุม กองอำนวยการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้งจังหวัด (กอ.ปภ.) เพื่อดำเนินการแจ้งเตือนประชาชนให้เตรียมพร้อมรับมือของสถานการณ์ภัยแล้งโดยมอบหมายส่วนราชการ หน่วยทหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ จัดเตรียมกำลังคน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องจักรกลสาธารณภัย เช่น รถยนต์บรรทุกน้ำ เครื่องสูบน้ำ เป็นต้น ให้มีความพร้อมปฏิบัติงานตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมทั้งประสานความร่วมมือกับภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล ที่มีศักยภาพตามแนวทางประชารัฐในการสนับสนุนทรัพยากร ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้ในการบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนจากภัยแล้ง และให้อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำรวจซ่อมแซมพัฒนาเก็บกักน้ำกลาง ให้อยู่ในสภาพที่ใช้การได้ และจัดทำแผนการแจกจ่ายน้ำในแต่ละหมู่บ้านหรือชุมชน โดยกำหนดจุดแจกจ่ายน้ำกลาง เพื่อการอุปโภค บริโภค บริเวณสถานที่ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารการแจ้งเตือน ตลอดจนคำแนะนำในการปฏิบัติแก่ประชาชนในทุกพื้นที่อย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้ง รายงานข้อมูล และประสานข้อมูลให้เกิดผลเป็นรูปธรรมหากเกิดสถานการณ์ภัยแล้งในพื้นที่

ในส่วนของจังหวัดภูเก็ตพบว่าขณะนี้ อ่างเก็บน้ำในจังหวัดภูเก็ต มีปริมาณน้ำที่เพียงพอต่อความต้องการของการใช้น้ำในจังหวัดทำให้ ไม่มีผลกระทบต่อสภาวะภัยแล้งแต่อย่างใดแต่ทั้งนี้ทางหน่วยงานต่างๆที่รับผิดชอบของแต่ละพื้นที่ ได้มีการเตรียมแผนการในการรองรับผลกระทบจากสถานการณ์ภัยแล้งไว้แล้ว เว็บสล็อต